กลศึกสามก๊ก
ผู้เขียน: นันทัชพร เทพรังษี,สกลสุภา มิ่งสุทธิพร
แสดงรายละเอียดเพิ่มเติม
พิมพ์ครั้งแรก มกราคม 2558 (พิมพ์ครั้งที่ 4 ปรับปรุงใหม่)
ISBN 9786167105956
สำนักพิมพ์ สุขภาพใจ
14.5 x 21 ซ.ม.
448 หน้า
ปกอ่อน
ถนอมสายตา
แชร์:
line
อุบายร้อยเล่ห์กลยุทธ์
จากแม่แบบวรรณคดีการศึก
พิเคราะห์ วิจารณ์แบบเจาะลึก
โดยอาจารย์สถาบันการทหาร
ผสานการแปลโดยผู้แตกฉานพิชัยสงคราม
หลอมรวมจนได้ "กลศึกสามก๊ก"
ฉบับสมบูรณ์เหนือใคร
สารบัญ
- สังเขปเหตุการณ์สมัยสามก๊ก
- อย่าไล่สุนัขจนตรอก หลีกเลี่ยงจุดแข็งเข้าตีจุดอ่อน
- รอดตายด้วยไหวพริบ ปฏิภาณของโจโฉเมื่อคับขัน
- 18 หัวเมืองปราบตั๋งโต๊ะไม่สำเร็จ ต่างแย่งชิงพื้นที่ตั้งตนเป็นใหญ่
- กลยุทธ์ “ยืมทางพรางกล” อ้วนเสี้ยวทำสำเร็จ แต่จิวยี่ล้มเหลว
- กลสาวงามกับกลลูกโซ่ ล้วนเพื่อตีศัตรูให้แตกพ่ายไป
- ยุทธวิธีรบติดพัน มัดมือมัดตีนข้าศึก
- สองเสือแย่งเหยื่อ กระสุนนัดเดียวได้นกสองตัว
- ไล่เสือกลืนสุนัข ยุให้รำตำให้รั่ว
- สายตายุทธศาสตร์ของซุนเซ็ก สร้างอำนาจรัฐตระกูลซุนครองกังตั๋ง
- แผนซ้อนแผน กลซ้อนกล กาเซี่ยงรู้เท่าทันแผนการโจโฉ
- ปรัชญาแห่งการไล่ตามตี ทวนย้อนแทงย้อนแทงทวน
- แผนลวงของตันเต๋ง ลิโป้เสียสามเมืองในคราวเดียว
- ตันก๋งเลือกนายผิด มีแผนดีแต่มีนายเลว
- ลูกเล่นของเตียวหุย ต้านการดักซุ่มตีอย่างแนบเนียน
- ยั่วยุให้หยิ่งผยอง บุนทิวหลงกลโจโฉ
- คนในมืด คนนอกสว่าง อยู่กลางขุนเขามีแนวเนินเป็นม่านบังตา
- ยุทธการ “ปล้นเสบียงที่อัวเจ๋า” หัวเลี้ยวหัวต่อการเติบใหญ่ของโจโฉ
- ใช้สงครามข่าวสาร กระจายกำลังข้าศึก โจโฉตีอ้วนเสี้ยวด้วยรบพิสดาร
- เมตตาอาทร-บุญคุณความแค้นของนักการเมือง การทหาร
- แผน “ซุ่มตี 10 ทิศ” ของเทียหยก โจโฉล้างแสนยานุภาพอ้วนเสี้ยว
- เหตุแห่งความปราชัยของอ้วนเสี้ยว บทเรียนที่มีค่าของผู้นำ
- โจโฉ “ดูไฟชายฝั่ง” สองครั้ง จบสิ้นอำนาจตระกูลอ้วน
- ความรอบรู้ของขงเบ้ง แผ่นดินนี้จะแยกเป็นสาม
- คบเพลิงสองอันของขงเบ้ง จากทุ่งพกบ๋องถึงเมืองซินเอี๋ย
- อ่อนไม่ควรแสดงว่าพรั่นพรึง แข็งกล้าต้องลึกซึ้งกลอุบาย
- เจียวก้านตกหลุมจิวยี่ ข่าวตรงมักสงสัย ข่าวซุบซิบมักเชื่อถือ
- ขงเบ้งยืมเกาทัณฑ์ อาศัยธรรมชาติเป็นพันธมิตร
- จิวยี่โบยอุยกาย ยอมรับการยอมจำนน = ยอมรับศัตรู
- โจโฉพ่ายหนีที่ฮัวหยง ความผิดพลาดหลังการหัวเราะครั้งที่ 3
- การทูตในศึกเซ็กเพ็ก สร้างพันธมิตรด้วยวาจาจี้ใจ
- โจหยินพ่ายทัพจิวยี่ที่ลำกุ๋น ชนะบ่อยครั้งมักประเมินข้าศึกต่ำต้อย
- จิวยี่เหนื่อยเปล่า ขงเบ้งชุบมือเปิบ
- “ยิงเกาทัณฑ์ดอกเดียวได้นก 2 ตัว” ขงเบ้งยึด 2 เมืองมิเปลืองแรง
- เหตุใดขงเบ้งจึงต้อง “ยืม” เกงจิ๋ว พันธมิตรในแดน “ยุทธภูมิสัญจร”
- ไถ้แพรสามใบของขงเบ้ง การคาดการณ์ล่วงหน้าของนักยุทธศาสตร์
- ขงเบ้งยั่วโทสะจิวยี่ตายจริงหรือ สายตาสั้น-ชีวิตสั้น
- โลกชกแนะนำบังทองให้เล่าปี่ นักวางแผนต้องเล็งการณ์ไกล
- หมากตาสำคัญของขงเบ้ง สามจุดตรึงหนึ่งจุด
- ม้าเฉียวเสริมกำลัง โจโฉกลับชอบใจ
- เล่าปี่ชนะใจเตียวสง สร้างมิตรผูกใจได้ทุกสิ่ง
- งานเลี้ยงที่ด่านโปยสิก๋วน ทัศนะการเมืองอันล้ำลึกของเล่าปี่
- ลกห้องโหปลิดชีวิตบังทอง ความริษยาบดบังความปราดเปรื่อง
- เตียวหุยตีปากุ๋น ความละเอียดในความหยาบ
- เมื่อขงเบ้งปกครองเสฉวน เข้มงวดประสานผ่อนปรน
- โจโฉยึดเองเปงก๋วน กลยุทธ์ถอยลวงรุกจริง
- โจโฉหยุดเมื่อควรหยุด ยื่นมือยาวไปยิ่งสุ่มเสี่ยง
- ขงเบ้งคาย 3 เมืองให้ซุนกวน ยอมเสียเล็กเพื่อได้ใหญ่
- การใช้คนก็มีศิลปะ วางแผนในกระโจมชนะไกลพันลี้
- ทหารกล้าเพราะนายหาญ การกระทำของผู้นำคือคำสั่งที่มีพลัง
- จุดอ่อนก็ใช้ลวงข้าศึกได้ กลอุบายที่คาดไม่ถึง
- ความแยบยลในการยั่วยุขุนพล จี้จุดอ่อนปลุกจุดแข็ง
- แขกกลับกลายเป็นเจ้าบ้าน พลิกจากโจมตีเป็นตั้งรับ
- เลี่ยงความฮึกโหม-ตีเมื่ออิดโรย หนักแน่นรู้จักรอคอยโอกาส
- ความห้าวหาญของจูล่ง ความกล้ากับสติปัญญาต้องเชื่อมโยงกัน
- ซิหลงพ่ายเพราะเลียนแบบ ประวัติศาสตร์มิซ้ำรอยเดิม
- โจโฉสงสัย 3 ครั้งรบแพ้ 3 หน จงสร้างความผิดพลาดให้ข้าศึก
- กวนอูทดน้ำท่วม 7 ทัพ ดึงธรรมชาติเป็นพันธมิตร
- แผนลวงของลิบองกับลกซุน อย่าวัดคุณค่าคนจากความโด่งดัง
- ลิบองลอบตีเกงจิ๋วฉับพลัน จู่โจมเมื่อไม่ระวัง-รุกรบเมื่อไม่คาดคิด
- กวนอูเข้าตาจน ลิบองใช้แผน “เพลงฉู่ 4 ทิศ”
- โศกนาฏกรรมของกวนอู ไร้กลอุบาย-ไร้การตระเตรียม
- ซุนกวนกับโจโฉโยนความผิดให้กัน ต้องแยกศพกวนอูฝัง 3 แห่ง
- ไม่ควรทำศึกเพราะเหตุส่วนตัว บทเรียนจากความแค้นของเล่าปี่
- ซุนกวนกล้าเผชิญความอัปยศ ยอมงอรอผลการณ์ไกล
- ทำศึกไม่ควรเสียโอกาสรบ โจผีพลาดนาทีทอง
- ลกซุนรอโอกาส “ลงมือทีหลัง” พลังซ่อนเร้นสยบความฮึกเหิม
- รู้จักพอคือความฉลาด ไม่ต้องรบก็สยบข้าศึกได้
- ใช้กลอุบายแทนการรบ สยบทัพพันธมิตร 5 ทิศทาง
- ขงเบ้งฟื้นความสัมพันธ์กับซุนกวนสร้างความสมดุลการทหารรูปสามเหลี่ยม
- ศิลปะการ “ขอยืม” ของขงเบ้ง วิธีการเก่ารูปแบบใหม่
- สำคัญที่รบชนะทางใจ ชนะใจชนะอย่างสมบูรณ์
- 7 จับ 7 ปล่อยเบ้งเฮ็ก รบทางใจกำลังทหารต้องหนุนข้างหลัง
- ขงเบ้งคลอกทหารเกราะหวาย รบแบบซุ่มตี-น้อยชนะมาก
- รอบคอบเกินไปก็เสียหาย ขงเบ้งมิใช่หยกปราศจากรอยตำหนิ
- การศึกไม่หน่ายเล่ห์ ข่าวสารปัจจัยชี้ชัยชนะ
- สุมาอี้จัดการเบ้งตัด รุกรบเมื่อไม่คาดคิด
- ซ้อนแผนการลอบโจมตี มองไกลกว่า ก้าวไกลกว่า-ชนะ !
- ม้าเจ๊กกับอองเป๋งในศึกเกเต๋ง รู้หลักการว่ายน้ำมิสู้คนว่ายน้ำเป็นแล้ว
- การแสดง “ละครหลังเวที” ฝีมือไม่เข้าขั้นก็มีช่องโหว่
- คำนวณก่อนข้าศึกจักชนะ คาดการณ์ล่วงหน้าแม่นยำจักชนะ
- ขงเบ้ง “ถอยให้สามช่วง” กลยุทธ์เคลื่อนย้ายทำลายข้าศึก
- แม่ทัพอยู่ภายนอก ประมุขไม่ระแวงจะชนะ
- ขงเบ้งเลียนแบบอวี๋สวี่ ถอยทัพทุกวันเพิ่มเตาทุกวัน
- ขงเบ้งทำกลเอาเสบียงจากข้าศึก สุมาอี้เผชิญขงเบ้ง 4 คน
- สำคัญที่การรักษาคำมั่นสัญญา วาจาสัตย์สามารถกำหนดแพ้ชนะ
- กลศึกโคยนต์ของขงเบ้ง ขนส่งเสบียงด้วยเทคโนโลยี
- ขงเบ้งแพ้ความหนักแน่นของสุมาอี้ในสงครามยืดเยื้อ ใครอึดกว่า-ชนะ !
- ถอยทัพก็ต้องมีศิลปะ ขงเบ้งตายหลอกสุมาอี้เป็น
- พันธมิตรง่อก๊กกับจ๊กก๊กในศึกเขากิสาน ความผิดพลาดของขงเบ้ง
- ตีจุดที่ต้องช่วยกับล้อมจุดตีหนุน แผนศึกเฉียบแหลมของสุมาอี้
- วิภาษวิธีระหว่าง “เร็ว” กับ “ช้า” ควรเร็วให้รีบฉวย ควรช้าให้ถ่วงไว้
- การใช้เล่ห์และการคาดคะเนข้าศึกเกียงอุยกับเตงงายคู่ต่อสู้ที่ทัดเทียมกัน
- แม่ทัพควรเข้าใจสนามรบให้ถ่องแท้ ความเฉียบคมของเตงงาย
- “ตีจ๊กก๊ก บุกง่อก๊ก” แผนศึกร้อยเล่ห์ของจงโฮย
- เกียงอุยย้อนรอยสุมาเจียว ทำผิดซ้ำรอยขงเบ้ง
- เตงงายตลบหลังทางอิมเป๋ง ทางลัดสู่ชัยชนะ
- จ๊กก๊กล่ม–ง่อก๊กหนาว เสร็จนาฆ่าโคถึก เสร็จศึกฆ่าขุนพล
- อวสานสามก๊ก รวมแล้วแยก แยกแล้วรวม